ดาวน์โหลดแฟ้ม EA
|
My EMA200 SmoothedHighLowMA MACD and RSI Thai EA Unstable
|
ปรับปรุงครั้งล่าสุดเมื่อ
: ๑๙ มีนาคม พ.ศ.
๒๕๕๙ เวลา ๒๓.๐๐
น.
|
|
ไม่รับประกันความเสียหายอันเนื่องมาจากการทำงานของ EA ชุดนี้
|
|
ขออภัย ต้นฉบับ EA ชุดนี้สูญหายทั้งหมด หากมีเวลาจะรื้อฟิ้นกลับมาให้ใหม่
|
การกำหนดขนาดล็อตในการเปิดคำสั่งซื้อ/ขายของ
My EMA200
SmoothedHighLowMA MACD and RSI Thai EA
จะเป็นระบบการคำนวณขนาดล็อตอัตโนมัติเช่นเดียวกับ
EA สำหรับ
FOREX อื่นๆ
ที่ผู้เขียนจัดทำขึ้น
โดยที่ผู้ที่นำไปใช้จะต้องกำหนดขนาดล็อตต่ำสุดที่ต้องการไว้
(MinumumLotSize)
วิธีการคำนวณหาขนาดล็อตที่เหมาะสม
จะใช้สูตรตามที่ได้เคยเสนอไว้ในบทความเรื่อง
การคำนวณหาจำนวนล็อต (lots) ที่เหมาะสมสำหรับการเปิดคำสั่งซื้อ/ขายในตลาดฟอเร็กซ์
สำหรับจำนวนตัดขาดทุน
หรือ Stop
Loss ของ
My EMA200
SmoothedHighLowMA MACD and RSI Thai EA
ซึ่งจะเป็นข้อมูลอย่างหนึ่งที่จะต้องนำมาคำนวณหาขนาดล็อตที่เหมาะสม
โดยในกรณีที่ผู้ใช้ไม่ได้กำหนดให้
EA หา
จำนวนตัดขาดทุนอัตโนมัติ
(กำหนดค่า
UserAutoStopLoss
= true) ตัว
EA จะใช้ค่า
400
เป็นค่าตัดขาดทุนปริยายในการหาขนาดล็อตที่เหมาะสม
แต่ถ้าผู้ใช้กำหนดให้
EA
คำนวนหาจำนวนตัดขาดทุนให้อัตโนมัติ
EA
จะใช้ค่าจากเส้นค่าเฉลี่ย
EMA 200
เป็นเกณฑ์
หรือเป็นแนวต้านของการเปิดคำสั่งซื้อ/ขาย
โดยจะแบ่งเป็น 2
กรณี
ดังนี้
- กรณีที่ EMA200 < Low[0] หรือ กรณีเป็นเทรนขาขั้น จะหาระยะสำหรับคำนวณหาจำนวนตัดขาดทุน จาก Close[0] มาที่เส้น EMA200
- กรณีที่ EMA200 > High[0] หรือ กรณีที่เป็นเทรนขาลง จะหาระยะสำหรับคำนวณจำนวนตัดขาดทุน จาก EMA200 มาที่ Close[0]
หมายเหตุ การที่กำหนดค่าตัดขาดทุนปริยายไว้ที่ 400 pip นั้น เนื่องจากเป็นค่าที่ได้จากการศึกษาจากเว็บไซต์ต่างๆ เกี่ยวกับ FOREX ซึ่งพบว่าเป็นค่าของจำนวนตัดขาดทุนที่เหมาะสมสำหรับการใช้กลยุทธิ์การตัดกันของเส้นค่าเฉลี่ย (Moving Average crossover)
/*+------------------------------------------------------------------+ ฟังก์ชัน หาจำนวนตัดขาดทุนที่เหมาะสม() ทำหน้าที่หาจำนวน pip สำหรับการตัดขาดทุน หรือ Stop Loss ใหม่ +------------------------------------------------------------------+*/ int หาจำนวนตัดขาดทุนที่เหมาะสม(double EMA200) { int จำนวนตัดขาดทุนที่คำนวณได้ = StopLoss; int ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน; if (UseAutoStopLoss) { if (EMA200 < Low[0]) //ขาขึ้น { //ระยะจากราคาปัจจบันไปถึง EMA200 ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน = ((Close[0] - EMA200) / Point); } if (EMA200 > High[0]) //ขาลง { //ระยะจากราคาปัจจบันถึงราคาสูงสุดของแท่งราคา + ParabolicSAR ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน = ((EMA200 - Close[0]) / Point); } //กรณีได้ค่าติลบ if (ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน < 0) { ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน = -(ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน); } //แปลงให้เป็นจำนวนนับ จำนวนตัดขาดทุนที่คำนวณได้ = ((ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน < 400) ? 400 : ระยะห่างจากราคาถึงแนวต้าน); } return(จำนวนตัดขาดทุนที่คำนวณได้); } /*+------------------------------------------------------------------+ ฟังก์ชัน หาจำนวนล็อตที่เหมาะสม() ทำหน้าที่หาจำนวนล็อตที่เหมาะสมต่อกันเปิด order +------------------------------------------------------------------+*/ double หาจำนวนล็อตที่เหมาะสม(double EMA200) { double ขนาดล็อตที่คำนวณได้; double จำนวนเงินทุนที่ใช้ได้; //หาวงเงินในบัญชีที่เปิดคำสั่งซื้อ/ขายได้ double จำนวนเงินในบัญชี = AccountFreeMargin(); //ตรวจหาคำว่า micro ในสัญลักษร์คู่เงิน if (StringFind(Symbol(), "micro", 0) > 0) { จำนวนเงินในบัญชี = AccountFreeMargin() * 100; } //หามูลค่้าต่อ 1 pip double มูลค่าต่อ1pip = MarketInfo(Symbol(), MODE_TICKVALUE); //ถ้าทุนมากกว่า 200 จึงจะคำนวนตามสูตร if (จำนวนเงินในบัญชี > 200) { //นำจำนวนเงินในบัญชีมาคำนวณหายอดเงินที่ใช้ได้โดยดูจาก MaximumRisk จำนวนเงินทุนที่ใช้ได้ = จำนวนเงินในบัญชี * MaximumRisk; //หาขขนาดล็อตที่เหมาะสม ขนาดล็อตที่คำนวณได้ = NormalizeDouble(( (จำนวนเงินทุนที่ใช้ได้ * //จำนวนเงินที่มี MaximumRisk) / //คูณ เปอร์เซ็นกำไรที่ต้องการ (((StopLoss==0) && !UseAutoStopLoss) ? 400 : หาจำนวนตัดขาดทุนที่เหมาะสม(EMA200)))/มูลค่าต่อ1pip //หาร ด้วยจำนวน pip ที่ตัดขาดทุน , 2); //แปลงเป็นเลขทศนิยม 2 ตำแหน่ง } else { ขนาดล็อตที่คำนวณได้ = 0.01; } //ถ้่า lots ที่คำนวณได้น้อยกว่า MinimumLotSize ให้ใช้ค่าใน MinimumLotSize แทน if (ขนาดล็อตที่คำนวณได้ < MinimumLotSize) ขนาดล็อตที่คำนวณได้ = MinimumLotSize; //ส่งค่าขนาล็ออตที่เหมาะสมกลับ return(ขนาดล็อตที่คำนวณได้); } |
บันทึกประจำวันที่
31
กรกฎาคม
พ.ศ.
2557 (2014)
เวลา
|
เหตุการณ์
|
||
05:00 น. | ตื่นนอน จับไก่เตรียมส่งคนสั่งซื้อ | ||
05:45 น. | ดื่มกาแฟ | ||
06:15 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
กสิกรรมธรรมชาติ บ้านแม่ทำ
สีทา (3/2557)
: ฉีดพ่นอาหารเสริมพืช
YIC nano
ในแปลงข้าวโพดเทียน
|
||
07:00 น. | งานของกิจกรรมอาชีพ กสิกรรมธรรมชาติ แปลงสวนปาล์ม (8/2557) : ฉีดพ่นอาหารเสริมพีช YIC nano ใส่ต้นปาล์ม | ||
08:00 น. |
|
||
08:30 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
กสิกรรมธรรมชาติ บ้านแม่ทำ
สีทา (3/2557)
: สูบน้ำรดต้นไม้ที่เพาะชำไว้ด้วยปั้มชักพลังงานโซลาร์เซลล์
|
||
08:45 น. | ประกอบบังโซ๋ของรถมอเตอร์ไซค์ | ||
09:00 น. | ทำบัญชีครัวเรือน ทำบันทึกประจำวันของวันก่อน | ||
10:00 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
งานอินเตอรเน็ต (18/2557)
: ทำแฟ้มโครงสร้างต้นฉบับบทความเรื่องใหม่
และโพสต์บทความเรื่องใหม่
|
||
13:30 น. |
|
||
14:30 น. | สูบน้ำใช้ด้วยปั้มชักพลังงานโซลาร์เซลล์ | ||
15:15 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
งานอินเตอร์เน็ต (18/2557)
: โพสต์บทความเรื่องเรื่องใหม่
และปรับแต่ง Affiliate
Program
|
||
17:00 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
งานการตลาดและการลงทุน
(20/2557)
: ปรับแต่งร้านค้าใน
Lnw
|
||
19:00 น. |
|
||
20:00 น. | เข้านอน |