![]() |
รูปแบบการกำหนดค่าให้รายกายบน Android |
เวลากำหนดค่าให้กับรายการต่างๆ
อย่างการเข้าไปในหัว Settings
เราจะไม่เห็นค่าของตัวเลือกเป็นเมนูย่อยๆ
หรือที่เรียกว่า dill-down
ปรากฏซ้อนขึ้นมา
ในกรณีที่รายการหัวข้อนั้นๆ
มีตัวเลือกหลายๆ ตัวเลือก
ตัวเลือกดังกล่าวจะปรากฏในหน้าจอถัดไป
หรือมีรายการตัวเลือกปรากฏที่กรอบด้านข้างแทน
ซึ่งเป็นเอกลักษณ์อย่างหนึ่งของระบบปฏิบัติการ
Android
ดังนั้นในการเขียนแอปพลิเคชันสำหรับใช้บน
Android
ที่มีการกำหนดค่าให้กับรายการ
มักจะไม่นิยมทำเป็นเมนูย่อย
และใส่หัวลูกศรไว้ทางขวาสุดของรายการเหมือนบนแพล็ตฟอร์มอื่นๆ
![]() |
รูปแบบการกำหนดค่าให้รายการบนแพล็ตฟอร์มอื่น |
![]() |
การส่งผ่านข้อมูลโดยเรียกแอปพลิเคชันโตยตรง |
หัวเรื่องนี้เป็นเรื่องของเทคนิกการเขียนโปรแกรม
ซึ่งโดยปรกติในการเขียนแอปพลิเคชันสำหรับแอนดรอยด์ที่สามารถส่งต่อข้อมูล
หรือแชร์ข้อมูลไปยังแอปพลิเคชันอื่นๆ
ได้นั้น เราสามารถใช้ออบเจ็กต์
Intent
ในการเรียกแอปพลิเคชันที่เกี่ยวข้องขึ้นมา
แล้วส่งข้อมูลไปให้แอปพลิเคชันนั้นได้โดยตรง
เช่นเราต้องการแชร์ข้อมูลผ่าน
Facebook
ถ้าใช้วิธีการข้างต้น
เวลาที่แอปพลิเคชันทำงาน
ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์จะแสดงรายการของแอปพลิเคชันที่เป็บเว็บบราวเซอร์ขึ้นมาให้เลือกดังรูปข้างต้น
แต่วิธีการดังกล่าว
ทางกลุ่มผู้พัฒนาระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ไม่แนะนำให้ใช้
แต่ให้ดำเนินกาผ่านองค์ประกอบที่เรียกว่า
Share
Action Provider แทน
ซึ่งรายละเอียดเกี่ยวกับเรื่องราวเหล่านี้ผู้เขียนจะพยายามนำมาเสนอในลำดับถัดๆ
ไป
![]() |
ลักษณะการส่งผ่านข้อมูลผ่าน Share Action Provider ของ Android |
บันทึกประจำวันที่
1
มิถุนายน
พ.ศ.
2557 (2014)
Note
|
เข้าร่วมอบรมหลักสูตร "The Power of Leader" วันที่ 2 | ||
เวลา
|
เหตุการณ์
|
||
06:00 น. | เข้าร่วมอบรมหลักสูตร "The Power of Leader" ของบริษัท เยส ไอ แคน คอร์เปอร์เรชัน (ประเทศไทย) จำกัด ณ วังยางรีสอร์ท ศรีประจัน สุพรรณบุรี | ||
16:00 น. | เดินทางกลับกับรถวิชิต วินมอเตอร์ไซด์สถานีขนส่งด่านช้าง, เปลี่ยนยางในรถมอเตอร์ไซด์, เดินทางกับถึงบ้าน | ||
20:00 น. |
|
||
20:00 น. | เข้านอน |