ชุดคำสั่ง : DefLng |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวอักษรเริ่มต้นที่ระบุของชื่อตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดชนิดเฉพาะเจาะจงไว้
ให้มีชนิดเป็น Long
Integer
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
DefLng
Characterrange1[, Characterrange2[,...]]
พารามิเตอร์
:
Characterrange
หมายถึง
ตัวอักษรตั้งต้นของชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ตัวแปรนั้นๆ
มีชนิดเป็น Long
Integer
ชุดคำสั่ง : DefObj |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวอักษรเริ่มต้นที่ระบุของชื่อตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดชนิดเฉพาะเจาะจงไว้
ให้มีชนิดเป็น Object
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
DefObj
Characterrange1[, Characterrange2[,...]]
พารามิเตอร์
:
Characterrange
หมายถึง
ตัวอักษรตั้งต้นของชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ตัวแปรนั้นๆ
มีชนิดเป็น Object
ชุดคำสั่ง : DefSng |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวอักษรเริ่มต้นที่ระบุของชื่อตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดชนิดเฉพาะเจาะจงไว้
ให้มีชนิดเป็น Single
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
DefSng
Characterrange1[, Characterrange2[,...]]
พารามิเตอร์
:
Characterrange
หมายถึง
ตัวอักษรตั้งต้นของชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ตัวแปรนั้นๆ
มีชนิดเป็น Single
ชุดคำสั่ง : DefStr |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวอักษรเริ่มต้นที่ระบุของชื่อตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดชนิดเฉพาะเจาะจงไว้
ให้มีชนิดเป็น String
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
DefStr
Characterrange1[, Characterrange2[,...]]
พารามิเตอร์
:
Characterrange
หมายถึง
ตัวอักษรตั้งต้นของชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ตัวแปรนั้นๆ
มีชนิดเป็น String
ชุดคำสั่ง : DefVar |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวอักษรเริ่มต้นที่ระบุของชื่อตัวแปรที่ไม่ได้กำหนดชนิดเฉพาะเจาะจงไว้
ให้มีชนิดเป็น Variant
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
DefVar
Characterrange1[, Characterrange2[,...]]
พารามิเตอร์
:
Characterrange
หมายถึง
ตัวอักษรตั้งต้นของชื่อตัวแปรที่ต้องการให้ตัวแปรนั้นๆ
มีชนิดเป็น Variant
ตัวอย่าง
:
REM
ตัวอักษรเริ่มต้นชนิดกำหนดตัวแปร
DefBool
b
DefDate
t
DefDbL
d
DefInt
i
DefLng
l
DefObj
o
DefStr
s
DefVar
v
SUB
subExampleDefxxx
sDisplay
= "DefBool b" + Chr(13) + _
"DefDate
t" + Chr(13) + _
"DefDbL
d" + Chr(13) + _
"DefInt
i" + Chr(13) + _
"DefLng
l" + Chr(13) + _
"DefObj
o" + Chr(13) + _
"DefStr
s" + Chr(13) + _
"DefVar
v" + Chr(13) + Chr(13)
sDisplay
= sDisplay+"sDisplay เป็นตัวแปร
String"+Chr(13)
bOk
= True
sDisplay
= sDisplay+"bOk เป็นตัวแปร
Boolean
="+bOk+Chr(13)
tToday
= Now()
sDisplay
= sDisplay+"tToday เป็นตัวแปร
Date
="+tToday+Chr(13)
dValue
= 12345.67891
sDisplay
= sDisplay+"dValue เป็นตัวแปร
Double
="+dValue+Chr(13)
iData
= 12345.67891
sDisplay
= sDisplay+"iData เป็นตัวแปร
Integer
="+iData+Chr(13)
oDoc
= ThisComponent
sDisplay
= sDisplay+"oDoc เป็นตัวแปร
Object"+Chr(13)
vSample
= 1
vSample
= "ค่าใดๆ"
sDisplay
= sDisplay+"vSample เป็นตัวแปร
Variant
="+vSample+Chr(13)
eTest
= 3
sDisplay
= sDisplay+"eTest เป็นตัวแปรเกี่ยวกับ
Error
="+eTest
MsgBox
sDisplay
END
SUB
![]() |
รูปที่ 14 ภาพตัวอย่างการทำงานของซับรูทีน subExampleDefxxx |
ชุดคำสั่ง
:
Dim
|
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวแปร หรือตัวแปรอะเรย์
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
Dim
VarName [(start To end)] [As VarType][, VarName2 [(start To end)] [As
VarType][,...]]
พารามิเตอร์
:
VarName หมายถึง
ชื่อตัวแปร
Start,
End หมายถึง
เลขเริ่มต้น และเลขสิ้นสุดสำหรับกรณีตั้งตัวแปร
อะเรย์ โดยอะเรย์ที่ได้จะมีขนาดเท่ากับ
(end-start)+1
VarType หมายถึง
ชื่อระบุชนิดของข้อมูล
(รายละเอียดในตาราง)
ตาราง :
ชื่อระบุชนิดของข้อมูล
ชื่อชนิดข้อมูล
|
รายละเอียด
|
Bool
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ Boolean |
Currency
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Currency
(สำหรับเก็บค่าตัวเลขทางการเงิน
ซึ่งเป็นเลขทศนิยมที่มีเลขหลังจุด
4
หลัก)
|
Date
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ Date |
Double
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Double-precision
floating-point (สำหรับเก็บเลขทศนิยมที่มีค่าอยู่ในช่วง
1,79769313486232
x 10E308 ถึง
4,94065645841247
x 10E-324)
|
Integer
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Integer
(สำหรับเก็บเลขจำนวนเต็มที่มีค่าอยู่ในช่วง
-32768
ถึง 32767)
|
Long
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Long
Integer (สำหรับเก็บเลขจำนวนเต็มที่มีค่าอยู่ในช่วง
(-2.147.483.648
ถึง 2.147.483.647)
|
Object
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ Object |
Single
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Single-precision
floating-point (สำหรับเก็บเลขทศนิยมที่มีค่าอยู่ในช่วง
3,402823
x 10E38 ถึง 1,401298
x 10E-45)
|
String
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ String ซึ่งใช้เก็บข้อความขนาดไม่เกิน 64 K |
Variant
|
สำหรับกำหนดตัวแปรแบบ
Variant
สำหรับการกำหนดตัวแปรชนิดนี้
จะใช้คำสั่ง As
Variant หรือไม่ก็ได้
|
ชุดคำสั่ง : ReDim |
ประเภทชุดคำสั่ง
:
Statement
|
ทำหน้าที่
กำหนดตัวแปร หรือตัวแปรอะเรย์
เช่นเดียวกับคำสั่ง Dim
โดยทั่วไปจะใช้สำหรับเปลี่ยนแปลงขนาดของอะเรย์
หรือต้องการล้างข้อมูลในตัวแปรเดิม
ในกรณีที่ต้องการให้ข้อมูลเดิมคงอยู่ไม่สูญหายไป
จะใช้คำสั่ง Preserve
กำกับไว้ในคำสั่ง
รูปแบบชุดคำสั่ง
:
ReDim
VarName [(start To end)] [As VarType][, VarName2 [(start To end)] [As
VarType][,...]]
พารามิเตอร์
:
VarName หมายถึง
ชื่อตัวแปร
Start,
End หมายถึง
เลขเริ่มต้น และเลขสิ้นสุดสำหรับกรณีตั้งตัวแปร
อะเรย์ โดยอะเรย์ที่ได้จะมีขนาดเท่ากับ
(end-start)+1
VarType หมายถึง
ชื่อระบุชนิดของข้อมูล
(รายละเอียดในตารางที่
8)
ตัวอย่าง
:
SUB
subExampleDimAndReDim
Dim
iValue() As Integer 'กำหนดตัวแปรอะเรย์โดยไม่ระบุจำนวนช่องเก็บ
Dim
iCount As Integer 'กำหนดตัวแปรแบบ
Integer
Dim
sDisplay As String 'กำหนดตัวแปรเก็บข้อความสำหรับแสดงผล
ReDim
iValue(5) As integer 'เปลี่ยนขนาดตัวแปร
iValue
เป็น 5
ช่อง
For
iCount = 1 To 5
iValue(iCount)
= iCount
sDisplay
= sDisplay + "ค่าตัวแปรอะเรย์
iValue()
= ช่องที่ "
+ _
iCount
+ " คือ :
" + iValue(iCount) + Chr(13)
Next
iCount
MsgBox
sDisplay
END
SUB
![]() |
รูปที่ 15 ภาพตัวอย่างการทำงานของซับรูทีน subExampleDimAndReDim |
เวลา
|
เหตุการณ์
|
||
05:30 น. | ตื่นนอน ทำบัญชีครัวเรือน ทำบันทึกประจำวันของวันก่อน | ||
06:00 น. | งานของกิจกรรมอาชีพ งานอินเตอร์เน็ต (18/2557):ทำต้นฉบับบทความเรื่องใหม่ | ||
06:45 น. |
|
||
07:15 น. | งานของกิจกรรมอาชีพ กสิกรรมธรรมชาติ แปลงสวนปาล์ม (8/2557):ตัดปาล์ม | ||
12:00 น. |
ติดตั้ง UPS
ดัดแปลงสำหรับใช้กับโซลาร์เซลล์ที่ซุ้มหน้าบ้านไว้สำหรับงานชาร์จไฟฉาย
และงานที่ใช้ไฟฟ้าไม่เกิน
500
วัตต์
|
||
13:00 น. |
|
||
14:00 น. | งานของกิจกรรมอาชีพ กสิกรรมธรรมชาติ แปลงสวนปาล์ม (8/2557):ตัดปาล์ม | ||
18:00 น. | รื้อมัลติมิเตอร์เครื่องเก่าเอาอะไหล่มาใช้ | ||
18:30 น. | ทำบันทึกประจำวัน ทำต้นฉบับบทความเรื่องใหม่ | ||
19:00 น. |
งานของกิจกรรมอาชีพ
กสิกรรมธรรมชาติ บ้านแม่ทำ
สีทา (3/2557):ไปขนฟักทอง
|
||
19:15 น. |
|
||
21:00 น. | เข้านอน |